วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Diary No.​9​ Friday, 12 October 2018 Time 08.30-12.30 AM








Knowledge summary

   อาจารย์ให้นักศึกษานำเสนอกิจกรรมการทดลองบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของตนเองเเละเพื่อนๆ

1.การทดลองโดย น.ส.ณัฐธิดา​ ธรรมเเท้




















 


  1. นำเบกกิงโซดา ผงมะนาว และน้ำผสมกัน  ในปริมาณที่เหมาะสมลงในแก้ว
  2. ใส่น้ำหวานลงไป คนให้เข้ากัน เพื่อทำน้ำมะนาวโซดา 
  3. ให้เด็กๆออกมาชิมรสชาติ และบอกว่าเป็นอย่างไร ถ้าเปรี้ยวจัดแสดงว่าใส่กรดมะนาวผงมากเกินไป การใส่น้ำตาลลงไปไม่สามารถทำให้รสเปรี้ยวหายไปได้

  •  สรุปการทดลอง

เมื่อนำเบกกิงโซดาผสมกับน้ำมะนาวและใส่น้ำหวานลงไปจะได้น้ำมะนาวโซดาที่มีความอร่อย คือผงมะนาว 1 ช้อน ต่อเบกกิงโซดาเพียงเล็กน้อย  การใส่น้ำหวานทำให้รสชาติดีไม่ต้องเพิ่มน้ำตาล ถ้าเปรี้ยวจัดแสดงว่าใส่กรดมะนาวผงมากเกินไป การใส่น้ำตาลลงไปไม่สามารถทำให้รสเปรี้ยวหายไปได้

Teaching​ Methodes (วิธีการสอน)


  •  นักศึกษาได้วิเคราะห์กิจกรรมการทดลองกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างมีลำดับขั้นตอน


Apply (นำไปประยุกต์ใช้)​ 


  • นำความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการเรียนการสอนเด็กปฐมวัยเพื่อให้เกิดความเข้าใจเเละการเรียนรู้​ การมีทักษะ

Assessment (ประเมิน)

Self : (ตนเอง)​ เข้าเรียนตรงเวลาเเละตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอการทดลองค่ะ

Friend : (เพื่อน)​ มีความสุขกับการนำเสนอการทดลองค่ะ

Teacher : (อาจารย์)​ อธิบายเกี่ยวกับการทดลองเเละให้คำเเนะนำในการทดลองเพื่อให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้นค่ะ





Diary No.​8​ Friday, 5​ October 2018 Time 08.30-12.30 AM




Knowledge summary

   อาจารย์ให้นักศึกษา นำเสนอกิจกรรมการทดลอง บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของตนเองเเละเพื่อนๆ

1. การทดลองโดย น.ส.วิภาพ​ร​ จิตอาคะ

เรื่อง​ จรวดกล่องฟิลม์



















  • ขั้นตอนการทดลอง

  1. นำเบกกิ้งโซดามาผสมกับน้ำมะนาวเเล้วเทใส่ผสมกันในกล่องฟิลม์ทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เเละเกิดการขยายตัวในที่เเคบจนเกิดแรงดันภายในกล่องฟิลม์ทำให้พุ่งขึ้นได้


                                        



2. การทดลองโดย น.ส.วสุธิดา​ คชชา

เรื่อง​ การละลายของน้ำตาล






















  • ขั้นตอนการทดลอง


  1. นำน้ำตาล​ 2​ ก้อนวางในจานที่ใสน้ำระยะการวางห่างกัน
  2. นำสีผสมอาหารหยดลงบนก้อนน้ำตาลทั้ง​ 2​ ก้อน​ เเละสังเกตการเปลี่ยนเเปลง


  • สรุปผลการทดลอง
การละลายของน้ำตาลเกิดจาก ในก้อนน้ำตาลมีอากาศมาเเทนที่ ด้วยน้ำน้ำตาลจะเกิดการละลาย


  •     กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีดังนี้


  1. การตั้งประเด็นปัญหา
  2. การตั้งสมมุติฐาน
  3. การทดลอง
  4. การตรวจสอบ
  5. การสรุป


                                         



Teaching​ Methodes (วิธีการสอน)


  •  นักศึกษาได้วิเคราะห์กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างมีลำดับขั้นตอน

  Apply (นำไปประยุกต์ใช้)​ 


  •   นำความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการเรียนการสอนเด็กปฐมวัย เพื่อให้เกิดความเข้าใจเเละการเรียนรู้​ การมีทักษะ

Assessment (ประเมิน)

Self : (ตนเอง)​  เข้าเรียนตรงเวลาเเละตั้งใจฟัง เพื่อนนำเสนอการทดลองค่ะ

Friend : (เพื่อน)​  มีความสุขกับการนำเสนอการทดลองค่ะ

Teacher : (อาจารย์) ​อธิบายเกี่ยวกับการทดลอง เเละให้คำเเนะนำในการทดลอง เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้นค่ะ




วันพุธที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Diary No.7 Friday, 21​ ​Septemper 2018 Time 08.30-12.30 AM











Knowledge summary

   อาจารย์ให้นักศึกษาเเต่ละคนนำเเผ่นกิจการทดลอง ของบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยที่ตนเองได้รับ นำมาวิเคราะห์ตามขั้นตอนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

กิจกรรม

" ปริมาณน้ำในเเก้วเท่ากันหรือไม่ "

ประเด็น : ปริมาณน้ำในเเก้วเท่ากันหรือไม่

สมมุติฐาน : เทน้ำลงในปริมาณที่เท่ากันลงในภาชนะที่มีความเเตกต่างกัน

การทดลอง

  1. เตรียมภาชนะที่ใส่น้ำตามลำดับ 1 , 2 , 3, 4 (กระบอกที่ตักน้ำ)
  2. ตักน้ำเทลงในภาชนะที่​ 1​ เเละ​ 2
  3. สังเกตการเปลี่ยนเเปลงปริมาณของน้ำ
  4. เทน้ำลงในภาชนะที่ 3 ให้เต็ม เเล้วจากนั้น น้ำในภาชนะที่ 3 เทลง ในภาชนะที่ 4 ให้หมด
  5. สังเกตการเปลี่ยนเเปลง
สรุปผลการทดลอง


  • ภาชนะเเตกต่างกัน เเต่ปริมาณน้ำที่เติมเท่ากันจึง ทำให้น้ำที่อยู่ในเเก้วเท่ากัน
  • การบรรจุน้ำที่ไม่เท่ากัน อาจเป็นเพราะรูปร่าง รูปทรงของเเก้ว

อาจารย์ให้นักศึกษา เเต่ละคนประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์จากเเกนกระดาษทิชชู

อุปกรณ์


  1. เเกนกระดาษทิชชู
  2. กรรไกร
  3. เชือก
  4. กระดาษสี

วิธีทำ

  1. นำเเกนกระดาษทิชชูมาตัดครึ่ง
  2. เจาะรู​ 4​ รู​ เเละนำเชือกมาร้อย

วิธีเล่น


  • นำมาคล้องคอ เเละดึงเชือกสลับกันเเกนกระดาษทิชชูจะค่อยๆ ลงมาตามเเรงดึงเเละเสียดสี


ประโยชน์จากของเล่น


  • เป็นของเล่นที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เเละเกิดเเรงเสียดทานระหว่างการเคลี่อนที่


Teaching​ Methodes (วิธีการสอน)


  • นักศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  • เกิดความคิดที่สร้่างสรรค์สำหรับการประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์

Apply (นำไปประยุกต์ใช้)


  • การประดิษฐ์สื่อทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการเรียนการสอนเด็กปฐมวัย
  • มีหลักการความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือการนำเเผ่นกิจกรรมของตนเองมาวิเคราะห์ตามขั้นตอนได้

Assessment (ประเมิน)

Self : (ตนเอง) ​เข้าเรียนตรงเวลาเเละตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายค่ะ

Friend : (เพื่อน) ​มีความสุขกับการเรียนค่ะ

Teacher : (อาจารย์) ​อธิบายเเละให้คำเเนะนำนักศึกษา ในการวิเคราาะห์เเผ่นกิจกรรมบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อยตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้เข้าใจมากยิ่งขึ้นค่ะ







สรุปบทความ บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย – สร้างคนตั้งแต่วัยอนุบาล

      วิทยาศาสตร์ เป็นความรู้พื้นฐาน ที่สามารถต่อยอดและสร้างสรรค์ ความรู้ใหม่ได้ ในทุกสาขาวิชา  เเละส่งเสริมกระบวนการคิด เป็นเหตุ​ เป็นผล...